การตรวจสอบสัญญาทางธุรกิจ

การตรวจสอบสัญญาทางธุรกิจ

 

  • สำหรับผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้ประกอบการที่ไม่มีพื้นฐานความรู้ความชำนาญ ทางกฎหมาย ได้ทราบถึงวิธีการ “ตรวจสอบ” สัญญาทางธุรกิจในประเด็นที่สำคัญ เพื่อ ความถูกต้องและป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
  • เจาะลึกประเด็น หลักเกณฑ์และข้อควรระวังที่สำคัญ ที่่ผู้เกี่ยวข้องกับการทำสัญญา จะต้องทราบและต้องระมัดระวัง ตลอดจนเพื่อกำหนดแนวทางป้องกันแก้ไข
  • แนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบป้องกัน ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนทางด้านกฎหมาย และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยและตัวแปรต่างๆ ทางธุรกิจ

 

ผู้ร่างและผู้ลงนามสัญญาควรคำนึงถึงกรณีดังนี้

 

  1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญาและสัญญาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ
  • ความหมายของนิติกรรมสัญญาและสัญญาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ ที่เจ้าของธุรกิจ และผู้ประกอบการที่ไม่มีพื้นฐาน ความรู้ความชำนาญทางกฎหมาย ควรทราบ
  • คุณสมบัติของผู้ร่างสัญญาธุรกิจ จะต้องมีคุณสมบัติความรู้อย่างไร

 

  1. ข้อพิจารณาในการตรวจสอบก่อนการร่างสัญญาธุรกิจ
  • รูปแบบและประเภทของสัญญาในการทำธุรกิจ
  • การทำสัญญาร่วมกับแยกสัญญา ผลการบังคับตามสัญญา และผลกระทบทางภาระภาษี
  • ผู้มีหน้าที่ร่างสัญญา ผู้มีหน้าที่เก็บสัญญา และระยะเวลาในการเก็บสัญญา
  • ภาษาและถ้อยคำภาษา ที่ใช้ในการร่างสัญญา
  • ข้อควรระวัง เมื่อข้อเท็จจริงกับสัญญาขัดแย้งกัน
  • การแสดงเจตนาในการทำสัญญา
  • เอกสารหลักฐานประกอบการทำสัญญา

 

  1. รายละเอียดของเน้ือหา (Content / Context) และสาระสำคัญของสัญญา ในการตรวจสอบสัญญาธุรกิจให้ถูกต้อง และรัดกุมตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ในการทำธุรกรรม
  • ข้อกำหนดและเงื่อนไขเฉพาะ (Specific terms and conditions)
  • ข้อกำหนดและเงื่อนไขทั่วไป (General terms and conditions / Standard clauses)
  • รายละเอียดส่วนที่เป็นบทลงท้าย (Execution)

 

  1. ข้อควรระวังและการตรวจสอบในการลงนามในการทำสัญญาธุรกิจ
  • ผู้ใดเป็นผู้ท่ีมีอำนาจในการลงนามในการทำสัญญา “ลายเซ็น” อำนาจความรับผิดชอบ มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย ตัวอย่าง ผู้ลงนามในสัญญาที่ทำให้ไม่มีผลบังคับ
  • การตรวจสอบผู้มีอำนาจลงนามในสัญญา เพื่อให้ผูกมัดคู่สัญญา
  • รูปรอย “ตราประทับ” ที่จดทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย์
  • การมอบอำนาจ ในการทำสัญญา จะต้องปฏิบัติอย่างไร

 

  1. หลักเกณฑ์ในการพิจารณา “การแก้ไขสัญญา” ที่ถูกต้องและรัดกุมทางกฎหมาย
  • กรณีขีด ฆ่า สัญญา เซ็นชื่อกำกับ
  • การได้รับความยินยอม
  • การแสดงเจตนา
  • ผลบังคับท่ีเกิดขึ้นหลังจาก “การแก้ไข”
  • ข้อตกลงที่ดำเนินการแก้ไข มีผลบังคับเมื่อใด
  • เทคนิคการตรวจสอบสัญญาเพื่อไม่ให้เสียเปรียบสำหรับผู้บริหาร
  • อย่างไรถือเป็น “สัญญาไม่เป็นธรรม” และใช้บังคับคู่สัญญาได้หรือไม่ได้
  • อากรแสตมป์ฯลฯ

 

  1. ภาษีอากรที่มีผลกระทบและเกี่ยวข้องกับการร่างสัญญา
  • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม
  • อากรแสตมป์
  • ภาษีโรงเรือนและที่ดิน

 

  1. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ข้อมูลติดต่อของบริษัททีเอสแอล:

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่าหรือขอบริการด้านกฎหมาย, กรุณาไปที่หน้าติดต่อเรา

นอกประเทศ: +662-026-1913

ในประเทศไทย: 02-026-1913

อีเมล์:Info@tslthailand.com

How can we help you?

Visit us at our TSL Office in Bangkok or contact us by phone or on-line message at: